ภาควิชาจิตวิทยา

ผลงานวิจัยคณาจารย์

ผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการของคณาจารย์ ประจำปี พ.ศ.2566 (2023)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์ 

ชูชัย สมิทธิไกร, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, ฉัตรวิบูลย์ ไพจ์เซล, ทัศนีย์ หอมกลิ่น, และพลภัทร เจริญเวียงเวชกิจ. (2566). การพัฒนามาตรวัดเพื่อประเมินจิตสำนึกสุจริตและพฤติกรรมสุจริตของบุคลากรภาครัฐ : บริบทของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มนุษยศาสตร์สาร, 24(3), 31-56. 

วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, เสรี ใหม่จันทร์, และชลิดา วสุวัต. (2566). การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะด้านการให้การปรึกษา สำหรับครูประจำชั้นระดับประถมศึกษา เขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 25(1), 61-76 (ฐานข้อมูล: TCI1)

ศาสตราจารย์ ( เชี่ยวชาญพิเศษ) ดร.ชูชัย สมิทธิไกร

ชูชัย สมิทธิไกร, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, ฉัตรวิบูลย์ ไพจ์เซล, ทัศนีย์ หอมกลิ่น, และพลภัทร เจริญเวียงเวชกิจ. (2566). การพัฒนามาตรวัดเพื่อประเมินจิตสำนึกสุจริตและพฤติกรรมสุจริตของบุคลากรภาครัฐ : บริบทของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มนุษยศาสตร์สาร, 24(3), 31-56. 

ชูชัย สมิทธิไกร, ศักดิ์บดินทร์ กันมะโน, และทราย อภัยโส. (2566). อิทธิพลของภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมที่มีต่อสุขภาวะในการทำงาน: แบบจำลองการสื่ออิทธิพลแบบอนุกรมคู่ขนาน. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 15(2), 1-25.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์

พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, พิมพ์ชนก  เครือสุคนธ์, และ ทัศนีย์ หอมกลิ่น (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวด้านวิชาการและการคงอยู่ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: บทบาทการเป็นตัวแปรคั่นกลางแบบอนุกรมของความผาสุกทางใจและแรงจูงใจ.  Journal of Inclusive and Innovative Education, 7(2), 119-133.

พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, และ รุจน์ อัจฉริยาภรณ์. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับแต่งเติมงานและความผาสุกทางใจในการทำงานของพนักงานสูงอายุ: บทบาทการเป็นตัวแปรคั่นกลางของการรับรู้งานที่มีความหมายและทัศนคติต่อการเป็นผู้สูงอายุ. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 15(3), 122-135

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรวรรณ ธีระพงษ์

กลัญญุ วสุวัติ และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2566). ผลของการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดการบำบัดด้วยการยอมรับและการให้สัญญาในรูปแบบออนไลน์ต่อการฟื้นฟูพลังใจในผู้ที่มีภาวะระยะยาวของโควิด 19. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 31(4), 262-72. ชื่อฐานข้อมูล TCI 1

สรชา ตนานุวัฒน์ และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2566). ประสบการณ์ความเชื่อมโยงกับธรรมชาติและกระบวนการพัฒนาความงอกงามแห่งตนของกลุ่มธรรมยาตรา.  วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 11(3), 993-1004. (ฐานข้อมูล TCI 1)

วรรณิศา วงษ์สิงแก้ว และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2566). สโลว์ไลฟ์: ความหมายและวิถีชีวิตในชุมชนพันพรรณ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 11(4), 1339-1351. (ฐานข้อมูล TCI 1)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์

พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, พิมพ์ชนก  เครือสุคนธ์, และ ทัศนีย์ หอมกลิ่น (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวด้านวิชาการและการคงอยู่ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: บทบาทการเป็นตัวแปรคั่นกลางแบบอนุกรมของความผาสุกทางใจและแรงจูงใจ.  Journal of Inclusive and Innovative Education, 7(2), 119-133.

พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, และ รุจน์ อัจฉริยาภรณ์. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับแต่งเติมงานและความผาสุกทางใจในการทำงานของพนักงานสูงอายุ: บทบาทการเป็นตัวแปรคั่นกลางของการรับรู้งานที่มีความหมายและทัศนคติต่อการเป็นผู้สูงอายุ. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 15(3), 122-135

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรวิบูลย์ ไพจ์เซล

O’Brien, W. H., Peijsel, C., Koerten, H. R., Boonyarit, I., Lim, C. X., & Chavanovanich, J. (2023). Lesser degree of HR and HF-HRV recovery from an evaluative stressor is associated with higher levels of perfectionism and self-compassion. Behaviour research and therapy, 164, 104305. https://doi.org/10.1016/j.brat.2023.104305. (ฐานข้อมูล: SCOPUS)

ชูชัย สมิทธิไกร, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, ฉัตรวิบูลย์ ไพจ์เซล, ทัศนีย์ หอมกลิ่น และ พลภัทร เจริญเวียงเวชกิจ. (2566). การพัฒนามาตรวัดเพื่อประเมินจิตสำนึกสุจริตและพฤติกรรมสุจริตของบุคลากรภาครัฐ: บริบทของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 24(3), 31-56. 

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ

Sakulsriprasert, C., Thawornwutichart, R., Phukao, D., Guadamuz, T. E. (2023). Early Maladaptive Schemas and Addictive Behaviors: A Systematic Review and Meta-Analysis. Clinical Psychology & Psychotherapy, 30(6), 1416-1432.  

อรณิชา แปงทิศ, ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, และ รติพันธ์ ถาวรวุฒิชาติ. (2566). การดื่มสุรากับอัตลักษณ์ความเป็นหญิงของนักศึกษาหญิง: การวิเคราะห์ปรากฏการณ์วิทยาเชิงตีความ. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 54(2), 32-45.

รุ่งนภา นาคสมพันธ์ และ ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2566). เรื่องเล่าในรอยสัก: เรื่องราวชีวิตและการประกอบสร้างอัตลักษณ์. มนุษยศาสตร์สาร, 24(1), 204-225.

Phukao, D., Thawornwutichart, R., Sakulsriprasert, C., Riewpaiboon, W., Pangma, A., & Guadamuz, T. E. (2023). Looking at mHealth Application Intervention for Youths with Addictive Behavior Through the Lens of Beck’s Cognitive Behavioral Therapy: A Scoping Review. Journal of the Medical Association of Thailand, 106(3), 320-329. 

ภัทรานิษฐ์ สุกใส, ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, นันทกา สุปรียา และ ศจีแพรว โปธิกุล. (2566). ความยากลำบากในการกำกับอารมณ์และปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาปริญญาตรี: บทบาทของแรงจูงใจในการดื่มในฐานะตัวแปรส่งผ่าน. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 45(1), 1-11.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสระ บุญญะฤทธิ์

O’Brien, W. H., Peijsel, C., Koerten, H. R., Boonyarit, I., Lim, C. X., & Chavanovanich, J. (2023). Lesser degree of HR and HF-HRV recovery from an evaluative stressor is associated with higher levels of perfectionism and self-compassion. Behaviour research and therapy, 164, 104305. https://doi.org/10.1016/j.brat.2023.104305

Boonyarit, I. (2023). Linking self-leadership to proactive work behavior: A network analysis. Cogent Business & Management, 10(1), 1-20. https://doi.org/10.1080/23311975.2022.2163563    link

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร เตวิชพงศ์

Swami, V., Tran, U. S., Stieger, S., Aavik, T., … Tevichapong, P…. & Voracek, M. (2023). Body appreciation around the world: Measurement invariance of the Body Appreciation Scale-2 (BAS-2) across 65 nations, 40 languages, gender identities, and age. Body Image, 46, 449-466. https://doi.org/10.1016/j.bodyim.2023.07.010  (SCOPUS)

ลลิตา วุฒิวิชญานันต์ และ ภาสกร เตวิชพงศ์. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความไม่มั่นคงในงานและความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การของพนักงานในอุตสาหกรรมธุรกิจสายการบิน: บทบาทการเป็นตัวแปรปรับของความไว้วางใจต่อองค์การ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยพายัพ ร่วมกับเครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 13 (หน้า 426-438), วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566, Virtual Conference organized by Payap University (ZOOM video webinar).

กรกนก ชีหรั่ง และ ภาสกร เตวิชพงศ์. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างการถูกคว่ำบาตรในสถานที่ทำงานกับความตั้งใจในการลาออกจากงานของพนักงานธุรกิจบริการในจังหวัดเชียงใหม่: บทบาทการเป็นตัวแปรปรับของทุนทางจิตวิทยา. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยพายัพ ร่วมกับเครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 13 (หน้า 452-465), วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566, Virtual Conference organized by Payap University (ZOOM video webinar).

ชนัฐกานต์ เพชรสีโชติ และ ภาสกร เตวิชพงศ์. (2566). ปัจจัยทางบวกที่พยากรณ์ความผูกพันต่องานของพนักงานหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยพายัพ ร่วมกับเครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 13 (หน้า 487-500), วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566, Virtual Conference organized by Payap University (ZOOM video webinar).

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวุฒิ อรินทร์

Arin, N., & Mengchuay, J. (2023). Assessing symptom exaggeration of psychopathology in incarcerated individuals and mentally ill offenders within forensic contexts. Behavioral Sciences & the Law, 41(4), 155–171. https://doi.org/10.1002/bsl.2603 (Scopus Q1)

อัมรินทร์ แก้วมณี และณัฐวุฒิ อรินทร์. (2566). การเสริมสร้างความสามารถในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษามหาวิทยาลัยโดยใช้การปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาความเป็นจริงเป็นฐาน. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ศรีนครินทรวิโรฒ, 24(1),15-30.

มาริษา อัจฉะวงค์ และณัฐวุฒิ อรินทร์. (2566). โลกหลังกำแพง: ประสบการณ์ทางจิตและการปรับตัวทางความคิดของผู้ต้องขังหญิง. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 16(3), 111-132.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารยา ผลธัญญา

นลินญา บุญทอง และอารยา ผลธัญญา. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะนิยมความสมบูรณ์แบบและความวิตกกังวลของนักศึกษา : บทบาทของความเมตตาต่อตนเองในฐานะตัวแปรส่งผ่าน. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 11(2), 40-56.

นันท์ชญาน์ กีรติพรพัตร์ และอารยา ผลธัญญา. (2566). การศึกษากระบวนการฟื้นคืนได้ในระยะหลังการระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาวัยเด็กตอนปลาย. Journal of Inclusive and Innovative Education, 7(2), 46-60.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์

ศรุตยา เจริญพรพานิชกุล และแสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์. (2566). ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวคิดพฤติกรรมความคิดแบบครอบครัวต่อพฤติกรรมการใช้จอในวัยเด็กตอนกลาง และพฤติกรรมการอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครอง. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. 21(3), 525-548

Junla, D., Mitranun, W., Sittiprapaporn, P., Yotanyamaneewong, S. (2023). Effects of Online Sport Counseling in Adolescent Taekwondo Athletes: Real Match After the COVID-19 Pandemic. JEPonline, 26(6): 1-10.

Buchanan, C., Glatz, T., Selcuk, S., Skinner, A.T., Lansford, J.E., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Gurdal, S., Liu, Q., Long, Q., Oburu, P., Pastorelli, C., Sorbring, E., Tapanya, S., Steinberg, L., Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S., & Alampay, L.P. (2023). Development trajectories of parental self-efficacy as children transition to adolescence in nine countries: Latent growth curve analyses. Journal of Youth and Adolescence, DOI: 10.1007/s10964-023-01899-z"

Lansford, J.E., Kerry, N., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Gurdal, S., Junla, D., Oburu, P., Pastorelli, C., Rothenberg, A.W., Skinner, A.T., Sorbring, E., Steinberg, L., Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S. & Alampay, L.P. (2023). Development of primal world beliefs. Human Development. https://doi.org/10.1159/000534964 "

Folker, A. E., Deater-Deckard, K., Lansford, J. E., Di Giunta, L., Dodge, K. A., Gurdal, S., Liu, Q., Long, Q., Oburu, P., Pastorelli, C., Rothenberg, W. A., Skinner, A. T., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, S., Uribe Tirado, L. M., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L. P., Al-Hassan, S. M., Bacchini, D., Bornstein, M. H., & Chang, L. (2023). Intra-individual variability in parental acceptance-rejection predicts externalizing and internalizing symptoms across childhood/adolescence in nine countries. Journal of Family Psychology, doi: 10.1037/fam0001133"

Kapetanovic, S., Zietz, S., Lansford, J. E., Bacchini, D., Bornstein, M. H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K. A., Gurdal, S., Junla, D., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A. T., Sorbring, E., Tapanya, S., Steinberg, L., Uribe Tirado, L. M., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L. P., & Al-Hassan, S. M. (2023). Parenting, adolescent sensation seeking, and subsequent substance use: Moderation by adolescent temperament. Journal of Youth and Adolescence, https://doi.org/10.1007/s10964-023-01765-y

Rothenberg, W.A., Bizzego, A., Esposito, G., Lansford, J.E., Al-Hassan, S.H., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Gurdal, S., Liu, Q., Long, Q., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A.T., Sorbring, E., Tapanya, S., Steinberg, L., Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S., & Alampay, L.P. (2023). Predicting adolescent mental health outcomes across cultures: A machine learning approach. The Journal of Youth and Adolescence, 52(8), 1595-1619. doi: 10.1007/s10964-023-01767-w

Buchanan, C. M., Zietz, S., Lansford, J. E., Skinner, A. T., Di Giunta, L., Dodge, K. A., Gurdal, S., Liu, Q., Long, Q., Oburu, P., Pastorelli, C., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, S., Uribe Tirado, L. M., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L. P., Al-Hassan, S. M., Bacchini, D., Bornstein, M. H., Chang, L., & Deater-Deckard, K. (2023). Typicality and trajectories of problematic and positive behaviors over adolescence in eight countries. Frontiers in Psychology, 01-18. DOI: 10.3389/fpsyg.2022.991727"

Roskam, I., the International Investigation of Parental Burnout (IIPB), and Mikolajczak, M. (2023). Three reasons why parental burnout is more prevalent in individualistic countries: A 36-country study. Social Psychiatry and Psychiatric Epidemiology. https://doi.org/10.1007/s00127-023-02487-z

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ หอมกลิ่น

ชูชัย สมิทธิไกร, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, ฉัตรวิบูลย์ ไพจ์เซล, ทัศนีย์ หอมกลิ่น และ พลภัทร เจริญเวียงเวชกิจ. (2566). การพัฒนามาตรวัดเพื่อประเมินจิตสำนึกสุจริตและพฤติกรรมสุจริตของบุคลากรภาครัฐ: บริบทของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 24(3), 31-56.

พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์, และ ทัศนีย์ หอมกลิ่น. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวด้านวิชาการและการคงอยู่ของนักศึกษาชั้นปีที่  1  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: บทบาทการเป็นตัวแปรคั่นกลางแบบอนุกรมของความผาสุกทางใจและแรงจูงใจ. Journal of Inclusive and Innovative Education, 7(2), 119-133.

พรรณวดี เจียมศิริ และทัศนีย์ หอมกลิ่น. (2566). อิทธิพลของคุณลักษณะสงสัยใคร่รู้ต่อความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อต่อเนื่องของการรับรู้ความสามารถแห่งตนเชิงสร้างสรรค์และความรู้สึกปลอดภัยเชิงจิตวิทยา. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 15(1), 25-48.

อาจารย์ ดร.ณฐวัฒน์ ล่องทอง 

Chotratanakamol, K., Uansa-ard, S., Longthong, N., & Yaemyuean, A. (2024). The effect of psychological training on strengthening family behavioral empowerment: A path analysis approach. Thammasat Review, 27(1), 126-152.

ณฐวัฒน์ ล่องทอง. (2566). การพัฒนาหลักสูตรทักษะชีวิตเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงานสำหรับเยาวชนศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 13(1), 34-46.

กานต์ แดงสืบตระกูล และ ณฐวัฒน์ ล่องทอง. (2566). ความผูกพันของพ่อแม่ที่มีต่อลูก: กรณีศึกษาครอบครัวอุปถัมภ์จังหวัดเชียงใหม่. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 13(1), 102-112.

เกศรินทร์ ศรีฝั้น และ ณฐวัฒน์ ล่องทอง. (2566). ทักษะชีวิตในการทำงาน: กรณีศึกษาบุคคลที่เคยเป็นเยาวชนในศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนเขต 7 จังหวัดเชียงใหม่. วารสารจิตเวชวิทยาสาร, 39(1), 66-80.

กฤติน เกษดี และ ณฐวัฒน์ ล่องทอง. (2566). การศึกษารูปแบบของศูนย์การปรึกษาทางจิตวิทยาสำหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 43(1), 165-182.

อาจารย์ ดร.อาชว์บารมี ถปะติวงศ์

ชูชัย สมิทธิไกร และอาชว์บารมี มณีตระกูลทอง. (2564). การวิเคราะห์องค์ประกอบของจุดแข็งเชิงจิตวิทยาในบริบทสังคมไทย: การศึกษาจากคำศัพท์พรรณนาลักษณะบุคคล. มนุษยศาสตร์สาร, 22(1), 121-142. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/243202 (ฐานข้อมูล: TCI1)

อาจารย์ ดร.ศจีแพรว โปธิกุล

ภัทรานิษฐ์ สุกใส, ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, นันทกา สุปรียาพร, ศจีแพรว โปธิกุล. (2566). ความยากลำบากในการกำกับอารมณ์และปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาปริญญาตรี: บทบาทของแรงจูงใจในการดื่มในฐานะตัวแปรส่งผ่าน. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 54(1), 1-11.

อาจารย์ ดร.ธนพงศ์ อุทยารัตน์

Khemmongkhon J., Uthayaratana T., & Teerapong T. (2023) Family Support on Self-Compassion Development: A Case Study of Thai Lesbians. ISSN: 2186-229X – The Asian Conference on Arts & Humanities 2023 Official Conference Proceedings. https://doi.org/10.22492/issn.2186-229X.2023.26

อาจารย์ ดร.นธิดา ศิริอภัยพันธ์

อาจารย์ ดร.ดรณี จันทร์หล้า

Yotanyamaneewong, S., Boonyarit, I., Narkpongphun, A., & Junla, D. (2023). Validity and Reliability of the Parental Burnout Assessment (PBA) Thai version. Thai Journal of Clinical Psychology, 54(3): 25-38."

Lansford, J.E., Kerry, N., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Deater- Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Gurdal, S., Junla, D., Oburu, P., Pastorelli, C., Rothenberg, A.W., Skinner, A.T., Sorbring, E., Steinberg, L., Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S. & Alampay, L.P. (2023). Development of primal world beliefs. Human Development. 1-10. https://doi.org/10.1159/000534964

Kapetanovic, S., Zietz, S., Lansford, J. E., Bacchini, D., Bornstein, M. H., Chang, L., Deater- Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K. A., Gurdal, S., Junla, D., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A. T., Sorbring, E., Tapanya, S., Steinberg, L., Uribe Tirado, L. M., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L. P., & Al-Hassan, S. M. (2023). Parenting, adolescent sensation seeking, and subsequent substance use: Moderation by adolescent temperament. Journal of Youth and Adolescence. 1235–1254. https://doi.org/10.1007/s10964-023-01765-y"


- ไม่มีเอกสารประกอบ -